วารสาร

ข้อมูล 42 รายการ
บทบาทของการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะในโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด
Topic Review

บทบาทของการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะในโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด

นพ.ศุภชัย ศรีจันทะ

Malignant Middle Cerebral Artery (MCA) infarction คำนี้ถูกใช้กันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1996 โดยอธิบายกลุ่มอาการที่ลักษณะดังต่อไปนี้ เช่น อาการแขนขาอ่อนแรงครึ่งซีก ตาและศรีษะเอียงข้าง (eye and head devviation) มีอาการซึมลง รูม่านตาขยาย และมีภาวะความดันในกะโหลดศีรษะ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
การใช้ยาอีลิทริปแทนในการรักษาอาการปวดศรีษะไม่เกรนชนิดเฉียบพลัน
Topic Review

การใช้ยาอีลิทริปแทนในการรักษาอาการปวดศรีษะไม่เกรนชนิดเฉียบพลัน

สุริณี จิรเกรียงไกร, วีรวุฒิ โตใหญ่

โรคปวดศีรษะไมเกรน (migraine) โรคปวด ศีรษะไมเกรนเป็นโรคทางระบบประสาทที่่พบได้บ่อย จัดอยู่ในกลุ่มโรคปวดศีรษะแบบปฐมภูมิ อาการปวด ศีรษะแต่ละครั้งมีระยะเวลาประมาณ 4-72 ชั่วโมง มักมี อาการปวดศีรษะครึ่งซีกเป็นพัก ๆ ปวดแบบตุบ ๆ หรือ ปวดตามจังหวะชีพจ ร (throbbing pain) อาจมีอาการ คลื่นไส้อาเจียนรวมด้วย

เมษายน - มิถุนายน 2567
การดูแลรักษาโรคลมชัก : Made It’s Easy
Topic Review

การดูแลรักษาโรคลมชัก : Made It’s Easy

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความชุกประมาณ 7 คนต่อประชากร 1000 คน พบได้ ทุกเพศ ทุกวัย ที่สำคัญ คือ ผู้ป่วยโรคลมชักได้รับผลกระ ทบหลายอย่าง เพราะความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติ ของคนในสังคมที่มีต่อคนที่เป็นลมชัก และต่อโรคลมชัก ยังไม่เหมาะสม ตลอดจนมีแนวทางการห้าม ควบคุมคน ที่เป็นลมชักทำอีกด้วย

มกราคม - มีนาคม 2567
แนวทางการให้บริการผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ต่อการปรับตัวและการรักษา
Topic Review

แนวทางการให้บริการผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ต่อการปรับตัวและการรักษา

ญาณิพิชย์ เพชรรามพะเนาว์, รณชัย คนบุญ, พรพรรณ โพธิไชยา, เสาวนีย์ ชูจันทร์

โรคมะเร็งเต้านมเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่ สำคัญของประเทศไทย เป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับหนึ่งของคนไทย และแนวโน้มการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลกระทบอย่างหนึ่งของระบบการ ดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมคือ ปัญหาการเข้าถึง บริการที่ดีมีคุณภาพ ภาระค่าใช้จ่ายจากการรักษาที่มี ราคาสูง...

มกราคม - มีนาคม 2567
การใช้ Siponimod ในการรักษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
Topic Review

การใช้ Siponimod ในการรักษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง

เอลียา ฟ้ามิตินนท์, พรธิญา รณรงค์

โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง Multiple Sclerosis (MS) เป็นโรคภูมิต้านทานตนเองที่มาจากการทำลาย เยื่อหุ้มแอกซอน (demyelinating disease) ที่ระบบ ประสาทส่วนกลาง ซึ่งปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุการเกิด โรคที่แน่ชัด โดยผู้ป่วยมักเริ่มต้นมีอาการช่วงอายุ 20-40 ปี พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 2 เท่า

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
ทำอย่างไรให้สามารถเพิ่ม node การให้บริการโรคหลอดเลือดสอง
Topic Review

ทำอย่างไรให้สามารถเพิ่ม node การให้บริการโรคหลอดเลือดสอง

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

เป็นที่ทราบว่าการรักษาผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมองด้วยระบบ stroke fast track เป็น วิธการรักษาที่ดี สามารถลดความพิการ และการเสีย ชีวิตลงได้ ได้ประโยชน์ทั้งผู้ป่วย cerebral infarction และ intracerebral hemorrhage...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
ระบบบริการโรคหลอดเลอดสมองจังหวัดขอนแก่น
Topic Review

ระบบบริการโรคหลอดเลอดสมองจังหวัดขอนแก่น

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับต้นๆ ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย และก่อ ให้เกิดความพิการ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ ป่วยและคนในครอบครัว ปัจจุบันการรักษาที่ได้ผลดี คือ การรักษาด้วยระบบทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke fast track (SFT)

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองเขตสุขภาพที่ 7
Topic Review

การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองเขตสุขภาพที่ 7

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke เป็นโรคทาง ระบบประสาทที่สำคัญ ก่อให้เกิดความพิการและเสีย ชีวิตของประชากรทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย การรักษา โรคนี้ที่ดีที่สุด คือ การป้องกันไม่ให้เกิดโรคนี้ (primary prevention)...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
30 ปี การรักษาโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด ย้อนอดีต ปัจจุบัน มุ่งสู่อนาคต
Topic Review

30 ปี การรักษาโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด ย้อนอดีต ปัจจุบัน มุ่งสู่อนาคต

นพ.เกษมสิน ภาวะกุล

โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดหรือ acute ischemic stroke เป็นสาเหตุหลักของความพิการและ เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตทั่วโลกเป็นอันดับสองตาม ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก พบว่าในปี ค.ศ. 2022 มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เกิดขึ้นใหม่มากกว่า 12 ล้านราย...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง I
Topic Review

การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง I

นพ.พิพัฒน์ พัฒนพิพิธไพศาล

การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองมุ่งเน้น การระบุและควบคุมปัจจัยเสี่ยง โดยปัจจัยเสี่ยงแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1. ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (non-modifiable risk factors) 2. ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (modifiable risk factors) โดยแบ่งเป็น...

กรกฎาคม - กันยายน 2566